กลุ่มงานบริหารความเสี่ยง สำนักงานตรวจสอบภายใน

เกี่ยวกับเรา

999971786551

999981240501

  • ความเป็นมา

มหาวิทยาลัยได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยตามคำสั่งที่ ๑๓๘/๒๕๕๕ ลงวันที่  ๒๕๕๕ ได้มีการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๕ เมื่อวันศุกร์ที่ ๙ มีนาคม ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุม ๔๐๑ อาคารสำนักงานอธิการบดี โดยที่ประชุมมีมติมอบหมายให้ฝ่ายเลขานุการแต่งตั้งคณะทำงานเพื่อดูแลปัจจัยความเสี่ยงที่เป็นหลักสำคัญ ๕ ด้าน คือด้านแผนพัฒนาระยะ ๕ ปีด้านงบประมาณการจัดสรรงบประมาณไม่เป็นไปตามแผนวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของโครงการ และความไม่เข้าใจกฎระเบียบของมหาวิทยาลัยพร้อมมอบให้กองแผนงานจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงประจำปี ๒๕๕๕ ครอบคลุมสาระสำคัญดังต่อไปนี้

  • ทบทวน Risk Appetite และ Risk Tolerance
  • ระบุความเสี่ยง ปัจจัยความเสี่ยงขององค์การให้เชื่อมโยงกับแผนผังแสดงการเชื่อมโยงประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าหมายตัวชี้วัด และโครงการ งานแผนงานที่จัดทำโดยกองแผนงาน
  • ประชุมเพื่อพิจารณาประเด็นความเสี่ยง ระบุปัจจัยความเสี่ยง เพื่อจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง มจร ปี ๒๕๕๕
  • เสนอร่างแผนบริหารความเสี่ยงประจำปี ๒๕๕๕ ต่อคณะทำงานบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในเพื่อกลั่นกรอง
  • เสนอแผนบริหารความเสี่ยงประจำปี ๒๕๕๕ ต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเพื่อพิจารณา
  • เสนอแผนบริหารความเสี่ยงประจำปี ๒๕๕๕ ต่อสภาวิชาการ เพื่อทราบ
  • เสนอแผนบริหารความเสี่ยงประจำปี ๒๕๕๕ ต่อสภามหาวิทยาลัยเพื่อพิจารณาอนุมัติ

ต่อมามหาวิทยาลัยได้มีคำสั่งที่ ๑๕/๒๕๕๗ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประกอบด้วยคณะกรรมการที่ปรึกษาซึ่งมีอธิการบดีเป็นประธาน และคณะกรรมการดำเนินงานมีรองอธิการบดีฝ่ายบริหารเป็นประธาน ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดีเป็นกรรมการและเลขานุการ โดยคณะกรรมการดังกล่าวได้ประชุมพิจารณาแนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงสรุปสาระสำคัญดังนี้

การประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ ที่ประชุมมีมติให้ดำเนินการปรับปรุงแผนการดำเนินการด้านบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในประจำปี ๒๕๕๖ โดยกำหนดให้ผลการประเมินการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยจะต้องได้ระดับ ๔ จากค่าคะแนนทั้งหมด ๕ ระดับ จากนั้นได้มีมติวางกรอบการวิเคราะห์ความเสี่ยง ๔ ด้าน ประกอบด้วย

  • ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์
  • ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ
  • ความเสี่ยงด้านการเงิน
  • ความเสี่ยงด้านกฎระเบียบ

พร้อมแต่งตั้งให้มีคณะทำงานบริหารความเสี่ยงจำนวน ๑๓ รูป/คน มีผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดีเป็นประธาน รองผู้อำนวยการกองกลางเป็นคณะทำงานและเลขานุการ เพื่อรับดำเนินการตามที่คณะกรรมการมอบหมาย

การประชุมครั้งที่ ๒/๒๕๕๗ เมื่อวันอังคารที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๗ ที่ประชุมมีมติเห็นชอบการกำหนดปัจจัยและค่าระดับความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยซึ่งประกอบด้วยปัจจัยความเสี่ยง ๑๗ ปัจจัย และเห็นชอบผลการทบทวนแผนปฏิบัติการด้านบริหารความเสี่ยงประจำปี ๒๕๕๖และร่างแผนปฏิบัติการด้านการบริหารความเสี่ยงประจำปี ๒๕๕๗ ตามที่คณะทำงานเสนอ พร้อมมอบหมายให้คณะทำงานได้ดำเนินการติดตามประเมินผลการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงประจำปี ๒๕๕๖ เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการต่อไป

การประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๗ เมื่อวันจันทร์ที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ที่ประชุมได้มีมติเห็นชอบผลการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงประจำปี ๒๕๕๖ ตามที่คณะทำงานเสนอ และมอบหมายให้คณะทำงานปรับปรุงรูปเล่มให้สมบูรณ์แล้วนำเสนอต่อสภามหาวิทยาลัยเพื่อพิจารณาต่อไปโดยไม่ต้องรอรับรองรายงานการประชุม

 

  • สรุปผลการดำเนินงาน
  • ผลการดำเนินงานบริหารความเสี่ยงในมิติด้านยุทธศาสตร์

แผนพัฒนามหาวิทยาลัยระยะที่ ๑๑ ได้กำหนดให้มียุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย ๕ ยุทธศาสตร์จากการประเมินผลการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยประจำปี ๒๕๕๖ พบว่า มียุทธศาสตร์ที่อยู่ในความเสี่ยงสูง ๓ ยุทธศาสตร์ จากการติดตามผลการดำเนินงานบริหารความเสี่ยงพบว่า ยังมีความเสี่ยงสูงทั้ง ๓ ยุทธศาสตร์ ดังนี้

ยุทธศาสตร์ ผลการดำเนินงาน สรุปผล เจ้าภาพความเสี่ยง
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การผลิตบัณฑิตและการจัดการการเรียนการสอนที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ๒.๗๘ ไม่บรรลุ รองอธิการบดีฝายวิชาการ

รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิต

ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้เพื่อเพิ่มศักยภาพการวิจัยทางพระพุทธศาสนาระดับนานาชาติ ๒.๙๓ ไม่บรรลุ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ

รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา

ยุทธศาสตร์ที่ ๕ พัฒนาระบบบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ๓.๒๖ ไม่บรรลุ รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร

รองอธิการบดีฝ่ายกิจการทั่วไป

ระดับคะแนนเฉลี่ย ๒.๙๙ ไม่บรรลุ  
  • ผลการดำเนินงานบริหารความเสี่ยงในมิติด้านประเภทความเสี่ยง๕ ด้าน

ตามที่คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้ระบุประเภทความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยประจำปีการศึกษา ๒๕๕๖ ออกเป็น ๕ ด้านนั้น พบว่า มีผลการดำเนินการบริหารความเสี่ยงที่ผ่านการประเมิน ๑ ด้าน คือ ด้านกลยุทธ์ ยังไม่ผ่านการประเมิน ๔ ด้าน ดังนี้

ประเภทความเสี่ยง ผลการดำเนินงาน สรุปผล เจ้าภาพความเสี่ยง
  • ด้านการปฏิบัติงาน
๒.๘๖ ไม่บรรลุ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ

รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิต

รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร

  • ด้านการเงิน
๓.๔๔ ไม่บรรลุ รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร
  • ด้านกฎระเบียบ
๓.๗๕ ไม่บรรลุ รองอธิการบดีฝ่ายกิจการทั่วไป
  • ด้านเหตุการณ์ภายนอก
๑.๕๐ ไม่บรรลุ รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร
  • ด้านกลยุทธ์
๔.๓๗ บรรลุประเมินคุณภาพฯ แต่ไม่บรรลุบริหารความเสียง รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา
ระดับคะแนนเฉลี่ย ๒.๙๙ ไม่บรรลุ  
  • ผลการดำเนินงานบริหารความเสี่ยงในมิติด้านองค์ประกอบความเสี่ยง (Risk Factor: RF ๑-๑๗)

ตามที่คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้กำหนดปัจจัยความเสี่ยงไว้ ๑๗ ปัจจัยนั้น จากการติดตามผลการดำเนินงานพบว่า มีผลการดำเนินงานผ่านการประเมิน ๔ ปัจจัย ยังไม่ผ่านการประเมิน ๑๓ ปัจจัย ดังนี้

องค์ประกอบความเสี่ยง ผลการดำเนินงาน สรุปผล เจ้าภาพความเสี่ยง
RF 1 ๐.๘๑ ไม่บรรลุ บัณฑิตวิทยาลัย
RF 2 ๔.๑๓ บรรลุประเมินคุณภาพฯ แต่ไม่บรรลุบริหารความเสียง กองวิชาการ
RF 3 ๓.๕๔ ไม่บรรลุ กองกลาง
RF 4 ๓.๘๑ ไม่บรรลุ สำนักงานตรวจสอบภายใน
RF 5 ๔.๔๐ บรรลุประเมินคุณภาพฯ แต่ไม่บรรลุบริหารความเสียง กองแผนงานและกองคลังและทรัพย์สิน
RF 6 ๑.๔๐ ไม่บรรลุ กองกลาง
RF 7 ๐.๙๓ ไม่บรรลุ บัณฑิตวิทยาลัย
RF 8 ๓.๐๐ ไม่บรรลุ กองกิจการนิสิต
RF 9 ๒.๔๘ ไม่บรรลุ สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์
RF 10 ๒.๗๗ ไม่บรรลุ กองกลาง
RF 11 ๓.๖๙ ไม่บรรลุ สำนักทะเบียนและวัดผล
RF 12 ๔.๐๘ บรรลุประเมินคุณภาพฯ แต่ไม่บรรลุบริหารความเสียง สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์
RF13 ๓.๔๒ ไม่บรรลุ สำนักงานประกันคุณภาพการศึกษา
RF 14 ๒.๗๑ ไม่บรรลุ กองวิชาการ
RF 15 ๓.๗๕ ไม่บรรลุ กองนิติการ
RF 16 ๑.๕๐ ไม่บรรลุ กองคลังและทรัพย์สิน
RF 17 ๔.๓๗ บรรลุประเมินคุณภาพฯ แต่ไม่บรรลุบริหารความเสียง กองแผนงาน
ระดับคะแนนเฉลี่ย ๒.๙๙ ไม่บรรลุ  

๔. สรุปผลการดำเนินงานบริหารความเสี่ยง (คะแนนความเสี่ยงที่จะเกิดxผลกระทบ) เปรียบเทียบปีการศึกษา ๒๕๕๕ – ๒๕๕๖

จากการประเมินผลค่าความเสี่ยงที่จะเกิดและผลกระทบที่เกิดพบว่ามีองค์ประกอบความเสี่ยงที่อยู่ระดับสูงมาก ๓ องค์ประกอบ ส่วนที่เหลือมีผลการบริหารความเสี่ยงที่มีพัฒนาการดีขึ้น ดังนี้

Risk Factor ระดับความเสี่ยง
ปี ๕๕ ปี ๕๖
RF๑ ๒๐ ๒๐
RF๒ ๑๖
RF๓ ๑๒
RF๔ ๑๒
RF๕ ๒๕ ๑๐
RF๖ ๒๐ ๒๐
RF๗ ๑๖ ๒๐
RF๘ ๑๒ ๑๒
RF๙ ๑๒ ๑๒
RF๑๐ ๑๒ ๑๒
RF๑๑
RF๑๒ ๑๒
RF๑๓ ๑๒
RF๑๔
RF๑๕ N/V
RF๑๖ N/V
RF๑๗ ๑๐ ๑๐
  • ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา

จากผลการดำเนินงานพบว่าจากการที่มหาวิทยาลัยมีแผนบริหารความเสี่ยงและการติดตามประเมินผลการดำเนินงานในภาพรวมจะพบว่ามีพัฒนาการของการปฏิบัติงานที่ดีขึ้นตามลำดับ ส่งผลให้ระดับความเสี่ยงลดลง แต่ถึงกระนั้นก็พบว่ายังมีความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาระบบการบริหารจัดการความเสี่ยงต่อไป จึงเห็นสมควรดำเนินการดังต่อไปนี้

  • เห็นควรมอบหมายให้มีการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กรต่อไปโดยมอบหมายให้มีส่วนงานหรือคณะกรรมการรับผิดชอบในการวิเคราะห์ จัดทำแผน ติดตาม ประเมินผล อย่างเป็นระบบ และนำเสนอต่อสภามหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง
  • เห็นควรให้มีการพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยอย่างเป็นระบบครบวงจร เชื่อมโยงกับแผนพัฒนามหาวิทยาลัย แผนปฏิบัติการประจำปี ทั้งส่วนกลาง วิทยาเขต วิทยาลัย และส่วนงานในกำกับอื่นๆ
  • เห็นควรให้มีการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านการประเมินคุณภาพการศึกษา การรายงานผลการดำเนินงานประจำปี เป็นฐานข้อมูลในการวิเคราะห์ความเสี่ยง
  • เห็นควรให้ใช้ผลการประเมินแผนบริหารความเสี่ยงประจำปีการศึกษา ๒๕๕๖ ผลการประเมินการศึกษาประจำปีการศึกษา ๒๕๕๖ รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๖-๒๕๕๗ เป็นฐานข้อมูลประกอบการวิเคราะห์จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยประจำปีการศึกษา ๒๕๕๗ ต่อไป
  • ความเป็นมา

มหาวิทยาลัยได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยตามคำสั่งที่ ๑๓๘/๒๕๕๕ ลงวันที่  ๒๕๕๕ ได้มีการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๕ เมื่อวันศุกร์ที่ ๙ มีนาคม ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุม ๔๐๑ อาคารสำนักงานอธิการบดี โดยที่ประชุมมีมติมอบหมายให้ฝ่ายเลขานุการแต่งตั้งคณะทำงานเพื่อดูแลปัจจัยความเสี่ยงที่เป็นหลักสำคัญ ๕ ด้าน คือด้านแผนพัฒนาระยะ ๕ ปีด้านงบประมาณการจัดสรรงบประมาณไม่เป็นไปตามแผนวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของโครงการ และความไม่เข้าใจกฎระเบียบของมหาวิทยาลัยพร้อมมอบให้กองแผนงานจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงประจำปี ๒๕๕๕ ครอบคลุมสาระสำคัญดังต่อไปนี้

  • ทบทวน Risk Appetite และ Risk Tolerance
  • ระบุความเสี่ยง ปัจจัยความเสี่ยงขององค์การให้เชื่อมโยงกับแผนผังแสดงการเชื่อมโยงประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าหมายตัวชี้วัด และโครงการ งานแผนงานที่จัดทำโดยกองแผนงาน
  • ประชุมเพื่อพิจารณาประเด็นความเสี่ยง ระบุปัจจัยความเสี่ยง เพื่อจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง มจร ปี ๒๕๕๕
  • เสนอร่างแผนบริหารความเสี่ยงประจำปี ๒๕๕๕ ต่อคณะทำงานบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในเพื่อกลั่นกรอง
  • เสนอแผนบริหารความเสี่ยงประจำปี ๒๕๕๕ ต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเพื่อพิจารณา
  • เสนอแผนบริหารความเสี่ยงประจำปี ๒๕๕๕ ต่อสภาวิชาการ เพื่อทราบ
  • เสนอแผนบริหารความเสี่ยงประจำปี ๒๕๕๕ ต่อสภามหาวิทยาลัยเพื่อพิจารณาอนุมัติ

ต่อมามหาวิทยาลัยได้มีคำสั่งที่ ๑๕/๒๕๕๗ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประกอบด้วยคณะกรรมการที่ปรึกษาซึ่งมีอธิการบดีเป็นประธาน และคณะกรรมการดำเนินงานมีรองอธิการบดีฝ่ายบริหารเป็นประธาน ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดีเป็นกรรมการและเลขานุการ โดยคณะกรรมการดังกล่าวได้ประชุมพิจารณาแนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงสรุปสาระสำคัญดังนี้

การประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ ที่ประชุมมีมติให้ดำเนินการปรับปรุงแผนการดำเนินการด้านบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในประจำปี ๒๕๕๖ โดยกำหนดให้ผลการประเมินการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยจะต้องได้ระดับ ๔ จากค่าคะแนนทั้งหมด ๕ ระดับ จากนั้นได้มีมติวางกรอบการวิเคราะห์ความเสี่ยง ๔ ด้าน ประกอบด้วย

  • ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์
  • ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ
  • ความเสี่ยงด้านการเงิน
  • ความเสี่ยงด้านกฎระเบียบ

พร้อมแต่งตั้งให้มีคณะทำงานบริหารความเสี่ยงจำนวน ๑๓ รูป/คน มีผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดีเป็นประธาน รองผู้อำนวยการกองกลางเป็นคณะทำงานและเลขานุการ เพื่อรับดำเนินการตามที่คณะกรรมการมอบหมาย

การประชุมครั้งที่ ๒/๒๕๕๗ เมื่อวันอังคารที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๗ ที่ประชุมมีมติเห็นชอบการกำหนดปัจจัยและค่าระดับความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยซึ่งประกอบด้วยปัจจัยความเสี่ยง ๑๗ ปัจจัย และเห็นชอบผลการทบทวนแผนปฏิบัติการด้านบริหารความเสี่ยงประจำปี ๒๕๕๖และร่างแผนปฏิบัติการด้านการบริหารความเสี่ยงประจำปี ๒๕๕๗ ตามที่คณะทำงานเสนอ พร้อมมอบหมายให้คณะทำงานได้ดำเนินการติดตามประเมินผลการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงประจำปี ๒๕๕๖ เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการต่อไป

การประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๗ เมื่อวันจันทร์ที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ที่ประชุมได้มีมติเห็นชอบผลการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงประจำปี ๒๕๕๖ ตามที่คณะทำงานเสนอ และมอบหมายให้คณะทำงานปรับปรุงรูปเล่มให้สมบูรณ์แล้วนำเสนอต่อสภามหาวิทยาลัยเพื่อพิจารณาต่อไปโดยไม่ต้องรอรับรองรายงานการประชุม

 

  • สรุปผลการดำเนินงาน
  • ผลการดำเนินงานบริหารความเสี่ยงในมิติด้านยุทธศาสตร์

แผนพัฒนามหาวิทยาลัยระยะที่ ๑๑ ได้กำหนดให้มียุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย ๕ ยุทธศาสตร์จากการประเมินผลการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยประจำปี ๒๕๕๖ พบว่า มียุทธศาสตร์ที่อยู่ในความเสี่ยงสูง ๓ ยุทธศาสตร์ จากการติดตามผลการดำเนินงานบริหารความเสี่ยงพบว่า ยังมีความเสี่ยงสูงทั้ง ๓ ยุทธศาสตร์ ดังนี้

ยุทธศาสตร์ ผลการดำเนินงาน สรุปผล เจ้าภาพความเสี่ยง
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การผลิตบัณฑิตและการจัดการการเรียนการสอนที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ๒.๗๘ ไม่บรรลุ รองอธิการบดีฝายวิชาการ

รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิต

ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้เพื่อเพิ่มศักยภาพการวิจัยทางพระพุทธศาสนาระดับนานาชาติ ๒.๙๓ ไม่บรรลุ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ

รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา

ยุทธศาสตร์ที่ ๕ พัฒนาระบบบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ๓.๒๖ ไม่บรรลุ รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร

รองอธิการบดีฝ่ายกิจการทั่วไป

ระดับคะแนนเฉลี่ย ๒.๙๙ ไม่บรรลุ  
  • ผลการดำเนินงานบริหารความเสี่ยงในมิติด้านประเภทความเสี่ยง๕ ด้าน

ตามที่คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้ระบุประเภทความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยประจำปีการศึกษา ๒๕๕๖ ออกเป็น ๕ ด้านนั้น พบว่า มีผลการดำเนินการบริหารความเสี่ยงที่ผ่านการประเมิน ๑ ด้าน คือ ด้านกลยุทธ์ ยังไม่ผ่านการประเมิน ๔ ด้าน ดังนี้

ประเภทความเสี่ยง ผลการดำเนินงาน สรุปผล เจ้าภาพความเสี่ยง
  • ด้านการปฏิบัติงาน
๒.๘๖ ไม่บรรลุ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ

รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิต

รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร

  • ด้านการเงิน
๓.๔๔ ไม่บรรลุ รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร
  • ด้านกฎระเบียบ
๓.๗๕ ไม่บรรลุ รองอธิการบดีฝ่ายกิจการทั่วไป
  • ด้านเหตุการณ์ภายนอก
๑.๕๐ ไม่บรรลุ รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร
  • ด้านกลยุทธ์
๔.๓๗ บรรลุประเมินคุณภาพฯ แต่ไม่บรรลุบริหารความเสียง รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา
ระดับคะแนนเฉลี่ย ๒.๙๙ ไม่บรรลุ  
  • ผลการดำเนินงานบริหารความเสี่ยงในมิติด้านองค์ประกอบความเสี่ยง (Risk Factor: RF ๑ – ๑๗)

ตามที่คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้กำหนดปัจจัยความเสี่ยงไว้ ๑๗ ปัจจัยนั้น จากการติดตามผลการดำเนินงานพบว่า มีผลการดำเนินงานผ่านการประเมิน ๔ ปัจจัย ยังไม่ผ่านการประเมิน ๑๓ ปัจจัย ดังนี้

องค์ประกอบความเสี่ยง

ผลการดำเนินงาน

สรุปผล

เจ้าภาพความเสี่ยง

RF 1 ๐.๘๑ ไม่บรรลุ บัณฑิตวิทยาลัย
RF 2 ๔.๑๓ บรรลุประเมินคุณภาพฯ แต่ไม่บรรลุบริหารความเสียง กองวิชาการ
RF 3 ๓.๕๔ ไม่บรรลุ กองกลาง
RF 4 ๓.๘๑ ไม่บรรลุ สำนักงานตรวจสอบภายใน
RF 5 ๔.๔๐ บรรลุประเมินคุณภาพฯ แต่ไม่บรรลุบริหารความเสียง กองแผนงานและกองคลังและทรัพย์สิน
RF 6 ๑.๔๐ ไม่บรรลุ กองกลาง
RF 7 ๐.๙๓ ไม่บรรลุ บัณฑิตวิทยาลัย
RF 8 ๓.๐๐ ไม่บรรลุ กองกิจการนิสิต
RF 9 ๒.๔๘ ไม่บรรลุ สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์
RF 10 ๒.๗๗ ไม่บรรลุ กองกลาง
RF 11 ๓.๖๙ ไม่บรรลุ สำนักทะเบียนและวัดผล
RF 12 ๔.๐๘ บรรลุประเมินคุณภาพฯ แต่ไม่บรรลุบริหารความเสียง สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์
RF13 ๓.๔๒ ไม่บรรลุ สำนักงานประกันคุณภาพการศึกษา
RF 14 ๒.๗๑ ไม่บรรลุ กองวิชาการ
RF 15 ๓.๗๕ ไม่บรรลุ กองนิติการ
RF 16 ๑.๕๐ ไม่บรรลุ กองคลังและทรัพย์สิน
RF 17 ๔.๓๗ บรรลุประเมินคุณภาพฯ แต่ไม่บรรลุบริหารความเสียง กองแผนงาน
ระดับคะแนนเฉลี่ย ๒.๙๙ ไม่บรรลุ  

๔. สรุปผลการดำเนินงานบริหารความเสี่ยง (คะแนนความเสี่ยงที่จะเกิดxผลกระทบ) เปรียบเทียบปีการศึกษา ๒๕๕๕ – ๒๕๕๖

จากการประเมินผลค่าความเสี่ยงที่จะเกิดและผลกระทบที่เกิดพบว่ามีองค์ประกอบความเสี่ยงที่อยู่ระดับสูงมาก ๓ องค์ประกอบ ส่วนที่เหลือมีผลการบริหารความเสี่ยงที่มีพัฒนาการดีขึ้น ดังนี้

Risk Factor ระดับความเสี่ยง
ปี ๕๕ ปี ๕๖
RF๑ ๒๐ ๒๐
RF๒ ๑๖
RF๓ ๑๒
RF๔ ๑๒
RF๕ ๒๕ ๑๐
RF๖ ๒๐ ๒๐
RF๗ ๑๖ ๒๐
RF๘ ๑๒ ๑๒
RF๙ ๑๒ ๑๒
RF๑๐ ๑๒ ๑๒
RF๑๑
RF๑๒ ๑๒
RF๑๓ ๑๒
RF๑๔
RF๑๕ N/V
RF๑๖ N/V
RF๑๗ ๑๐ ๑๐
  • ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา

จากผลการดำเนินงานพบว่าจากการที่มหาวิทยาลัยมีแผนบริหารความเสี่ยงและการติดตามประเมินผลการดำเนินงานในภาพรวมจะพบว่ามีพัฒนาการของการปฏิบัติงานที่ดีขึ้นตามลำดับ ส่งผลให้ระดับความเสี่ยงลดลง แต่ถึงกระนั้นก็พบว่ายังมีความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาระบบการบริหารจัดการความเสี่ยงต่อไป จึงเห็นสมควรดำเนินการดังต่อไปนี้

  • เห็นควรมอบหมายให้มีการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กรต่อไปโดยมอบหมายให้มีส่วนงานหรือคณะกรรมการรับผิดชอบในการวิเคราะห์ จัดทำแผน ติดตาม ประเมินผล อย่างเป็นระบบ และนำเสนอต่อสภามหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง
  • เห็นควรให้มีการพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยอย่างเป็นระบบครบวงจร เชื่อมโยงกับแผนพัฒนามหาวิทยาลัย แผนปฏิบัติการประจำปี ทั้งส่วนกลาง วิทยาเขต วิทยาลัย และส่วนงานในกำกับอื่นๆ
  • เห็นควรให้มีการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านการประเมินคุณภาพการศึกษา การรายงานผลการดำเนินงานประจำปี เป็นฐานข้อมูลในการวิเคราะห์ความเสี่ยง
  • เห็นควรให้ใช้ผลการประเมินแผนบริหารความเสี่ยงประจำปีการศึกษา ๒๕๕๖ ผลการประเมินการศึกษาประจำปีการศึกษา ๒๕๕๖ รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๖-๒๕๕๗ เป็นฐานข้อมูลประกอบการวิเคราะห์จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยประจำปีการศึกษา ๒๕๕๗ ต่อไป
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย